การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหรือกระบวนการ KWDL มีขั้นตอนการดำเนินการเช่นเดียวกับ KWL เพียงแต่เพิ่มขั้น D ในขั้นตอนที่ 3 ซึ่ง KWDL มาจากคำที่ว่า
- K : เรารู้อะไร (What we know) หรือโจทย์บอกอะไรเราบ้าง (สำหรับคณิตศาสตร์)
- W : เราต้องการรู้ , ต้องการทราบอะไร (What we want to know)
- D : เราทำอะไร , อย่างไร (What we do) หรือเรามีวิธีอย่างไรบ้าง หรือมีวิธีดำเนินการเพื่อหาคำตอบอย่างไร
- L : เราเรียนรู้อะไรจากการดำเนินการ ขั้นที่ 3 (What we learned) ซึ่งคือคำตอบสาระความรู้ และวิธีหาคำตอบและขั้นตอนการคิดคำนวณ เป็นต้น
แผนภูมิเทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้ KWDL
สถานการณ์โจทย์ปัญหาการหาร
การทำโจทย์ปัญหาตามเทคนิค KWDL
K
โจทย์บอกอะไรบ้าง
|
W
โจทย์ให้หาอะไร
|
D
ดำเนินการตามกระบวนการ
|
L
คำตอบที่ได้ และคิดคำตอบอย่างไร
|
……………………….
……………………….
2. ………………
………………………..
|
……………………….
……………………….
2. ………………
…………………..….
| แสดงวิธีทำวิธีที่ 1
ประโยคสัญลักษณ์
……………………….
……………………….
| คำตอบ……………………
สรุปขั้นตอน
……………………
……………………
|
พี่ชายใจดีมีเงินอยู่ 3,200 บาท แบ่งให้น้อง 5 คน คนละเท่า ๆ กัน น้องแต่ละคนจะได้เงินคนละเท่าไร |
K
โจทย์บอกอะไรบ้าง
|
W
โจทย์ให้หาอะไร
|
D
ดำเนินการตามกระบวนการ
|
L
คำตอบที่ได้ และคิดคำตอบอย่างไร
|
อยู่ 3,200 บาท
2.แบ่งให้น้อง5 คน ๆ ละ เท่า ๆ กัน
| -น้องแต่ละคนจะได้เงินคนละเท่าไร | แสดงวิธีทำวิธีหาร (÷)ประโยคสัญลักษณ์ 3,200÷5=ם
วิธีทำ
พี่ชายใจดีมีเงินอยู่ 3,200 บาท ÷
แบ่งให้น้อง 5 คน
น้องแต่ละคนจะได้เงินคนละ640 บาท
ตอบ 640 บาท
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น